หน้าเว็บ

WELCOME

วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557



ตรีโกณมิติ 



สมบัติของเลขยกกำลัง

   ถ้า  a  เป็นจำนวนใด ๆ  m   และ   n   เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว 
                                    สมบัติเลขยกกำลัง  ฐานเดียวกัน กำลังคูณกัน  ได้ กำลังบวก

                                       สมบัติเลขยกกำลัง          ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้

                                        สมบัติเลขยกกำลัง       ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้

                                        สมบัติเลขยกกำลัง            ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้ 

                                                สมบัติเลขยกกำลัง     ฐานเดียวกัน  หารกัน ได้ย....อ่านต่อ

วันอังคารที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ความหมายของฟังก์ชัน

                                     ความหมายของฟังก์ชัน
      ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ซึ่งในสองคู่อันดับใดๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้าสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน
      นั่นคือ
      ถ้า (x1,y1∈ r และ (x1,y2) ∈ r แล้ว y1= y2
      หลักในการพิจารณาว่าความสัมพันธ์เป็นฟังก์ชันหรือไม่
      1. ถ้าความสัมพันธ์นั้นอยู่ในรูปแจกแจงสมาชิก ให้ดูว่าสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับซ้ำกันหรือไม่ ถ้าสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับซ้ำกัน แสดงว่าความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชัน
      2. ถ้าความสัมพันธ์นั้นอยู่ในรูปของการกำหนดเงื่อนไขสมาชิก
          r = {(x,y) ∈ A× B | P(x,y) } ให้แทนค่าแต่ละสมาชิกของ ลงในเงื่อนไข P(x,y) เพื่อหาค่า ถ้ามี ตัวใดที่ให้ค่า yมากกว่า ค่า แสดงว่าความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชัน
      3. พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน ถ้าเส้นตรงดังกล่าวตัดกราฟของความสัมพันธ์มากกว่า จุด แสดงว่าความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชัน
                        ฟังก์ชันจาก ไป  B
• ฟังก์ชันจาก ไป B
         f เป็นฟังก์ชันจาก ไป ก็ต่อเมื่อ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนคือเซต และเรนจ์เป็นสับเซตของเซต เขียนแทนด้วย f : A → B
• ฟังก์ชันจาก ไปทั่วถึง B
         f เป็นฟังก์ชันจาก ไปทั่วถึง ก็ต่อเมื่อ เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซต และเรนจ์เป็นของเซต เขียนแทนด้วย f : A B
• ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ไป B
         f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ไป ก็ต่อเมื่อ เป็นฟังก์ชันจาก ไป ซึ่งถ้า y ∈ R f
แล้วมี x ∈ Df เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทำให้ (x,y) ∈ f เขียนแทนด้วย f : B
         หรืออาจกล่าวอย่างง่ายๆได้ว่า เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อสำหรับ x1และ xในโดเมน ถ้า 
f( x1) = f( x2แล้ว x= x2
 ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด

ให้ เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R× R และ A ⊂ Df

♦ f เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก xและ xใดๆ ใน A

ถ้า x< xแล้ว f( x1) < f( x2)

♦ f เป็นฟังก์ชันลดใน ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก xและ xใดๆ ใน A

ถ้า x< xแล้ว f( x1) > f( x2)